ธปท.จัดแถลงข่าวภาวะเศรษฐกิจและการเงินภาคใต้ ไตรมาสที่ 4 ปี 2562

ภาวะเศรษฐกิจภาคใต้ไตรมาสที่ 4 ปี 2562 หดตัวเล็กน้อยจากไตรมาสก่อน ผลผลิตเกษตรกลับมา หดตัวจากปาล์มน ้ามัน ส่งผลให้รายได้เกษตรกรขยายตัวชะลอลง และกระทบต่อก้าลังซื อท้าให้การอุปโภค บริโภคภาคเอกชนชะลอลง นอกจากนี ผลผลิตปาล์มน ้ามันที่ลดลงยังเป็นเหตุส้าคัญท้าให้การผลิต ภาคอุตสาหกรรมหดตัวเพิ่มขึนจากไตรมาสก่อน ขณะเดียวกัน ภาพรวมเศรษฐกิจต่างประเทศที่เริ่มเห็นสัญญาณ ปรับดีขึ นบ้างในช่วงปลายไตรมาส ส่งผลให้การส่งออกและการท่องเที่ยวหดตัวน้อยลง ส้าหรับการลงทุนภาครัฐ และภาคเอกชนหดตัวต่อเนื่องจากไตรมาสก่อน

ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อติดลบมากขึ นจากหมวดพลังงาน ตามทิศทางราคา

น้ำมัน เชื้อเพลิงขายปลีกในประเทศที่ปรับลดลง ขณะที่อัตราการว่างงานหลังขจัดปัจจัยฤดูกาลปรับเพิ่มขึ นเล็กน้อย จากไตรมาสก่อน

รายละเอียดของภาวะเศรษฐกิจภาคใต้มีดังนี ผลผลิตเกษตรหดตัวจากไตรมาสก่อน จากผลผลิตปาล์มน ้ามันที่ลดลงมากเป็นส้าคัญ โดยเป็นการลดลง ตามฤดูกาลปกติ รวมกับผลของฐานสูงจากการเหลื่อมฤดูกาลในปีก่อน ขณะที่ผลผลิตกุ้งขาวหดตัวเล็กน้อย จาก ผลของพายุโซนร้อน ที่ท้าให้อัตราการรอดของกุ้งต่้า ส้าหรับผลผลิตยางพารายังคงขยายตัว ด้านราคาสินค้า เกษตรกลับมาขยายตัวจากไตรมาสก่อนจากราคาปาล์มน ้ามันที่เพิ่มขึ นมากเป็นส้าคัญ ตามผลผลิตที่ลดลงและ ความต้องการที่เพิ่มขึ นจากการรับซื อเพื่อน้าไปผลิตไบโอดีเซล B10 อย่างไรก็ตาม ราคายางพาราปรับลดลงตาม เศรษฐกิจโลกที่ยังคงชะลอตัวและความต้องการจากจีนที่ลดลง ส่งผลให้รายได้เกษตรกรขยายตัวชะลอลงจาก ไตรมาสก่อนจากปัจจัยด้านผลผลิตเป็นส้าคัญ การอุปโภคบริโภคภาคเอกชนชะลอลงจากไตรมาสก่อนและทรงตัวจากระยะเดียวกันปีก่อน โดยการใช้ จ่ายในกลุ่มสินค้าในชีวิตประจ้าวันและหมวดยานยนต์กลับมาหดตัว อย่างไรก็ดี การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ยังคงได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการใช้จ่ายในภาคบริการด้านการท่องเที่ยวและการใช้จ่ายหมวดสินค้ากึ่งคงทน ที่ยังคงขยายตัว โดยส่วนหนึ่งได้รับผลดีชั่วคราวจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ อาทิ มาตรการ ชิมช้อปใช้ การผลิตภาคอุตสาหกรรมหดตัวเพิ่มขึ นจากไตรมาสก่อน จากการผลิตน ้ามันปาล์มที่กลับมาหดตัว เป็นส้าคัญ ตามปริมาณวัตถุดิบที่เข้าสู่โรงงานลดลง ด้านการผลิตอาหารทะเลกระป๋องหดตัวต่อเนื่องตามการ ผลิตปลาซาร์ดีน อย่างไรก็ดี การผลิตยางพาราแปรรูปและไม้ยางและผลิตภัณฑ์หดตัวน้อยลงจากปัจจัยชั่วคราวที่ ตลาดจีนเร่งสั่งซื อก่อนเข้าสู่ช่วงเทศกาลตรุษจีน ส้าหรับการผลิตอาหารทะเลแช่เย็นแช่แข็งและแปรรูปปรับตัว ดีขึ นเช่นกันจากการผลิตปลาและกุ้งเป็นส้าคัญ ในด้านมูลค่าการส่งออกหดตัวน้อยลงตามการส่งออกอาหาร ทะเลและสินค้าอุตสาหกรรมที่ปรับดีขึ น

จ้านวนนักท่องเที่ยวต่างชาติหดตัวน้อยลงจากไตรมาสก่อน ตามจ้านวนนักท่องเที่ยวจีน รัสเซียและ ยุโรปที่กลับมาขยายตัว ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการเปิดเส้นทางบินใหม่มายังจังหวัดภูเก็ตและกระบี่เพิ่มขึ น ขณะเดียวกันจ้านวนนักท่องเที่ยวอินเดียอยู่ในเกณฑ์ดี อย่างไรก็ตาม นักท่องเที่ยวมาเลเซียยังคงหดตวัจากปัจจัย ฐานสูงในไตรมาสเดียวกันปีก่อนเป็นส้าคัญ การใช้จ่ายภาครัฐหดตัวเพิ่มขึ นจากไตรมาสก่อน ตามการลดลงของรายจ่ายลงทุนในหมวดที่ดินและ สิ่งก่อสร้างของกรมชลประทาน กรมทางหลวง และกรมศุลากร ตลอดจนหมวดเงินอุดหนุนทั่วไปของ สถาบันการศึกษาในก้ากับของรัฐที่ออกนอกระบบ ขณะที่รายจ่ายประจ้ายังคงหดตัวตามการเบิกจ่ายที่ปรับลดลง ในหมวดค่าใช้สอยและงบรายจ่ายอื่นของกรมการพัฒนาชุมชน การลงทุนภาคเอกชนหดตัวเพิ่มขึ นจากไตรมาสก่อน ตามการลงทุนของภาคการผลิตในหมวด เครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ยังคงหดตัว โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยางพาราแปรรูป ไม้ยางและ ผลิตภัณฑ์ ตลอดจนน ้ามันปาล์ม ด้านการลงทุนในภาคก่อสร้างขยายตัวเพิ่มขึ นเล็กน้อยจากพื นที่ก่อสร้างเพื่อ การพาณิชย์และเพื่อการบริการในหมวดโรงแรมที่ยังคงขยายตัวต่อเนื่อง เสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ -0.28 ลดลงจากร้อยละ -0.04 ในไตรมาสก่อน ตามการปรับลดลงของราคาพลังงานเป็นส้าคัญ ซึ่งสอดคล้องกับทิศทางราคาน ้ามันดิบในตลาดโลก ประกอบกับ ราคาอาหารสดที่ขยายตัวชะลอลง ส้าหรับอัตราการว่างงานหลังขจัดปัจจัยด้านฤดูกาลอยู่ที่ร้อยละ 1.8 เพิ่มขึ น จากร้อยละ 1.6 ในไตรมาสก่อน ตามการเพิ่มขึ นของจ้านวนผู้ว่างงานที่ไม่เคยท้างานมาก่อน ณ สิ นไตรมาสที่ 4 ปี 2562 เงินฝากทั งระบบขยายตัวชะลอลงจากไตรมาสก่อน ตามการชะลอลงของ เงินฝากธนาคารพาณิชย์ประเภทเงินฝากประจ้าเป็นส้าคัญ ด้านสินเชื่อคงค้างทั งระบบขยายตัวชะลอลงจาก ไตรมาสก่อน ตามการชะลอลงของสินเชื่อธนาคารพาณิชย์ จากผลของฐานสูงที่เป็นปัจจัยเฉพาะเนื่องจากมีการ โอนพอร์ตสินเชื่อของบริษัทในเครือเมื่อเดือนธันวาคมปี 2561